ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาเคมี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Assistant Professor
Loei Rajabhat University
234 Loei-Chiang Khan Rd., Loei 42000, Thailand
วุฒิการศึกษา:
Ph.D.(Chemistry) Chulalongkorn University , Thailand
วท.ม.(เคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ.(เคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สาขาที่ถนัด:
Chemistry
Organic chemistry
Natural products
E-mail: thanatip.ruk@lru.ac.th
Website: chem.sci.lru.ac.th/th/thanatip_ruk
2.Ruksilp, T. (2020). Fatty Acids and an Ester from the Leaves of Millettia utilis Dunn Naresuan University Journal :
Science and Technology, 28(3), 63-68. paper3
3. Sichaem J., Ruksilp T.; Sawasdee, P., Khumkratok S.; Tip-pyang S.(2018). Chemical constituents of the stems of Spatholobus parviflorus and their cholinesterase inhibitory activity.Chemistry of natural compounds ; 54 : 356-357.paper7
4. Ruksilp T.; Sichaem J; Khumkratok S.; Siripong P.; Tip-pyang S.(2013). Chemical constituents of the roots of Morinda coreia. Chemistry of natural compounds ; 49 : 746-748. paper4
6. Sichaem, J.; Ruksilp, T.; Worawalai, W.; Siripong, P.; Khumkratok, S.; Tip-pyang, S. (2011).A new dimeric aporphine from the roots of Artabotrys spinosus. Fitoterapia; 82 :422-425. paper6
7. ธนาธิป รักศิลป์.(2563). องค์ประกอบทางเคมีจากกิ่งสะทอน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 28 (4), 587-595. paper1
8. ณัฐวรรณ สมอนา, ดวงฤทัย พุทธา และ ธนาธิป รักศิลป์.(2562). สเตอรอยด์จากส่วนสกัดหยาบไดคลอโรมีเทนในกิ่งสะทอนวัว. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 1 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อชุมชน” 20 เมษายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 45-52.
9. ธนาธิป รักศิลป์, ภัทรานุช ผงสุข และ วิระ อิสโร. พิเพอรีนและสติกมาสเตอรอลจากลาต้นสะค้าน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลยวิชาการ ครั้งที่ 5 ประจาปี 2562 “วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน”วันศุกร์ที่ 22 มีนาคม 2562. 644-652. proceed1
10. ธนาธิป รักศิลป์.(2561). กรดอินทรีย์โซํตรงยาว เอสเทอร์และสเตอรอยด์จากกิ่งสะทอนวัว. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลยวิชาการ ประจำปี 2561 “การบูรณาการภูมิปัญญาสู่นวัตกรรมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน”, มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, เลย., 906-912.
11.กรกช แก้ววิเชียร, ดวงฤทัย อินทร์นอก และ ธนาธิป รักศิลป์. (2561) การวิเคราะห์หาองค์ประกอบทางเคมี เบื้องต้นจากสารสกัดหยาบเฮกเซนของเปลือกลำต้นสะทอนวัว Millettia utilis Dunn. การประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติของนักศึกษาปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2560., มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.,255-260.
12.เกตนิกา สุวรรณชาติ , รังสิยา ผิวแดง และธนาธิป รักศิลป์. (2561). องค์ประกอบทางเคมีจากส่วนสกัด หยาบเอทิลแอซีเตทในเปลือกชงโคป่า Bauhinia saccocalyx Pierre. การประชุมวิชาการและ การนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติของนักศึกษาปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2560., มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.,109-113.
1. เคมีอินทรีย์ 1
2.ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1
3.เคมีอินทรีย์ 2
4. สเปกโทรสโกปีสำหรับเคมีอินทรีย์
5. สัมมนาเคมีเฉพาะทาง
1.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความ การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563
2. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความ การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ International and National Conference on Media Studies 2019 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา วันที่ 4 กรกฎาคม 2562 3.วิทยากรอบรมการจัดทำข้อสอบกลาง ให้แก่อาจารย์โรงเรียนมัธยมศึกษาเครือข่ายจตุรภาคี จังหวัดเลย ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย วันที่ 25-26 พฤศจิกายน 2562 4. กรรมการวิพากษ์โครงงาน ภาคภาษาอังกฤษ สาขาเคมี ณ โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร จังหวัดหนองบัวลำภู วันที่ 4 สิงหาคม 2560 5.วิทยากรอบรม รูปแบบการจัดการเรียนรู้ STEM Education ณ โรงแรมสมายล์ แอท เชียงคาน จังหวัดเลย วันที่ 2 กันยายน 2559 6.วิทยากร อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 หลักสูตรสะเต็มศึกษา ณ โรงเรียนเลยพิทยาคม จังหวัดเลย วันที่ 9 กรกฎาคม 2559 |
Copyright 2020 Computer Center .Loei Rajabhut University . Design By toppy@lru.ac.th